เข้าสู่ระบบ
Username:
Password:
Image 1 Image 2 Image 3 Image 4 Image 5 Image 6 Image 7 Image 8

วิสัยทัศท์ (Vision)

โรงพยาบาลชุมชนมาตรฐาน ให้บริการแบบองค์รวม

ค่านิยม (Value)

บริการแบบองค์รวม ร่วมใจประสาน สู่มาตรฐานสากล

วัฒนธรรมองค์กร
(Organizational culture)

ตรงต่อเวลา วาจาอ่อนหวาน บริการด้วยรอยยิ้ม

คำนวณดัชนีมวลกาย (BMI)
โรงพยาบาลเสนางคนิคม

image 1

การวัดดัชนีมวลร่างกาย Body Mass Index (BMI)

คือ อัตราส่วนระหว่างน้ำหนักต่อส่วนสูง ที่ใช้บ่งว่าอ้วนหรือผอม ในผู้ใหญ่ตั้งแต่อายุ 20 ปีขึ้นไป ความสำคัญของการรู้ค่าดัชนีมวลร่างกาย เพื่อดูอัตราการเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ ถ้าค่าที่คำนวนได้ มากหรือน้อยเกินไป เพราะถ้าเป็นโรคอ้วนแล้ว จะมีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด และโรคนิ่วในถุงน้ำดี แต่ในขณะเดียวกัน ผู้ที่ผอมเกินไป ก็จะเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ประสิทธิภาพในการทำงานของร่างกายลดลง ดังนั้นควรรักษาระดับน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ

ผู้อำนวยการโรงพยาบาล

image 3

โปรแกรมคำนวณดัชนีมวลกาย Body Mass Index (BMI)
โรงพยาบาลเสนางคนิคม

กรุณาใส่ข้อมูลส่วนสูงและน้ำหนักปัจจุบัน

เมตร (m)

กิโลกรัม (kg)

 

ดัชนีมวลกายของคุณ = ?

คำอธิบายผลการคำนวณ:

 

สูตรคำนวณดัชนีมวลกายคือ [ดัชนีมวลกาย= น้ำหนักตัว / ความสูง ยกกำลังสอง]

  • 40 หรือมากกว่านี้ : โรคอ้วนขั้นสูงสุด
  • 35.0 - 39.9: โรคอ้วนระดับ2 คุณเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่มากับความอ้วน หากคุณมีเส้นรอบเอวมากกว่าเกณฑ์ปกติคุณจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคสูง คุณต้องควบคุมอาหาร และออกกำลังกายอย่างจริงจัง
  • 28.5 - 34.9: โรคอ้วนระดับ1 และหากคุณมีเส้นรอบเอวมากกว่า 90 ซม.(ชาย) 80 ซม.(หญิง) คุณจะมีโอกาศเกิดโรคความดัน เบาหวานสูง จำเป็นต้องควบคุมอาหาร และออกกำลังกาย
  • 23.5 - 28.4: น้ำหนักเกิน หากคุณมีกรรมพันธ์เป็นโรคเบาหวานหรือไขมันในเลือดสูงต้องพยายามลดน้ำหนักให้ดัชนีมวลกายต่ำกว่า 23
  • 18.5 - 23.4: น้ำหนักปกติ และมีปริมาณไขมันอยู่ในเกณฑ์ปกติ มักจะไม่ค่อยมีโรคร้าย อุบัติการณ์ของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงต่ำกว่าผู้ที่อ้วนกว่านี้
  • น้อยกว่า 18.5: น้ำหนักน้อยเกินไป ซึ่งอาจจะเกิดจากนักกีฬาที่ออกกำลังกายมาก และได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ วิธีแก้ไขต้องรับประทานอาหารที่มีคุณภาพ และมีปริมาณพลังงานเพียงพอ และออกกำลังกายอย่างเหมาะสม